วันพุธที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2555

เรียงความเรื่อง สุนทรภู่ครูกวีแห่งสยาม

เรียงความเรื่อง สุนทรภู่ครูกวีแห่งสยาม

        เมื่อถึงวันที่ 26 มิถุนายนของทุกปีใครๆก็รู้ว่าเป็นวันสุนทรภู่ โรงเรียนส่วนใหญ่ก็จะจัดกิจกรรมแสดงละครเรื่องพระอภัยมณี แล้วก็แต่งบทกลอนเทิดทูน หรือไม่ก็มีการจัดท่องเที่ยวตามบทประพันธ์นิราศ ต่างๆนาๆ แล้วอยู่ดีๆ ก็มีคนเอาบทประพันธ์ไปแปลเป็นภาษาอังกฤษ แล้วยุเนสโก้ก็มาอ่านแล้วยกย่องให้สุนทรภู่เป็นกวีเอกของโลก ที่เรียกสุนทรภู่ว่าครูกวีแห่งสยามก็คงเพราะท่านเป็นคนคิด การบังคับ โครง ฉันท์ กาพ กลอน ต่างๆนาๆ ใช้เรียนกันในวิชาภาษาไทยก็เพื่อให้ ประเทศไทย ไม่ลืมการแต่งคำประพันธ์ จริงหรือไม่ ไม่มีใครรู้ แต่นั่นคือความคิดของพวกสิ้นคิดไม่มีวันที่จะเจริญได้หรอก

แต่เมื่อพอลองไปเปิดสมุดบันทึกชีวประวัติของท่านมาอ่านก็จะรู้ทันที่ว่า กว่าจะมาเป็นบทประพันธ์ซักบทหนึ่งมันยากลำบากขนาดไหน ว่าสุนทรภู่จะคิดการแต่ บทประพันธ์ ที่ฟังหรืออ่านแล้ว ไพรเราะเสนาะหูมันยากแค่ไหน แต่ความจริงแล้ว สุนทรภู่เกิดมาก็ เป็นเพียบแค่ไอ้เด็กตัวเล็กๆที่ชอบพูดจาภาษากลอนที่มีชื่อว่า ภู่ แต่เมื่อโตขึ้นก็ไปเป็นข้าในกลมพระราชวัง เพราะมารดาไปเป็นแม่นมให้เชื่อพระวงศ์ ส่วนพ่อก็โกรธแม่หนีไปบวดซะงั้น พอเมื่อสุนทรถู่โตขึ้นมาหน่อยก็ไปชอบกับนางในที่ชื่อว่าแม่จัน อย่างกับหนังแดจังกึม หลังจากที่ชอบพอกันไม่ไม่นานก็ถูกจับไปจองจำเพราะข่าวนั้นดังไปถึงกรมพระราชวังหลัง แต่ไม่นานก็ถูกปลอยตัวเพราะ กรมพระราชวังหลังเสด็จทิวงคต เป็นประเพณีแต่โบราณที่จะมีการปล่อยนักโทษ เพื่ออุทิศส่วนพระราชกุศลแด่พระมหากษัตริย์หรือพระราชวงศ์ชั้นสูง เมื่อเสด็จสวรรคต แต่พอเมื่อถูกปล่อยตัวได้ไม่นาน สุนทรภู่ก็ถูกใช้ให้ไปธุระที่จังหวัดชลบุรี ด้วยความคิดถึงนางจัน พี่ภู่ ก็ได้แต่ง นิราศเมืองแกลง ออกมาเป็นเหมือนบันทึกการเดินทาง หลังจากกลับมาวังหลังสุนทรภู่ก็ต้องตามเสด็จพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ไปนมัสการพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ในวันมาฆบูชา จึงได้แต่งนิราศ เรื่องที่สองขึ้นอีก คือ นิราศพระบาท แต่ชีวิตครอบครัวก็ยังไม่ราบรื่นนัก ในที่สุดแม่จันก็ร้างลาไปพระองค์เจ้าจงกล (เจ้าครอกทองอยู่) ได้รับอุปการะหนูพัดซึ่งเป็นบุตรของสุนทรภู่ไว้ชีวิตของท่านสุนทรภู่ช่วงนี้คงโศกเศร้ามิใช่น้อยๆเลย แต่เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคต นอกจากแผ่นดินและผืนฟ้าจะร่ำไห้ไพร่ธรรมดาคนหนึ่งที่มีโอกาสสูงสุดในชีวิตได้เป็นถึงกวีที่ปรึกษาในราชสำนักก็หมดวาสนาไปด้วย ในรัชกาลที่ ๒ ขุนสุนทรโวหารใน ชีพจรลงเท้าสุนทรภู่อีกครั้ง เมื่อท่านเกิดไปสนใจเรื่องเล่นแร่แปรธาตุและยาอายุวัฒนะ ถึงกับอุตสาหะไปค้นหา ทำให้เกิดนิราศวัดเจ้าฟ้า และนิราศสุพรรณ ส่วนญาติพี่น้องของสุนทรภู่ ที่ล้วนเป็นชาววังหลังมีความสัมพันธ์กับวัดสุวรรณารามอย่างมากสำหรับชุมชนบ้านบุ เป็นชุมชนที่มีการบุขันลงหินวัดสุวรรณารามหรือวัดทองนั้น เป็นที่เผาศพของน้องสุนทรภู่ 2 คน ที่ชื่อฉิม และนิ่ม ในกลอนนิราศที่บอกว่า "ถึงวัดทองหมองเศร้าให้เหงาเงียบ เย็นยะเยือกหย่อมหญ้าป่าช้าผี สงสารฉิมนิ่มน้อง 2 นารี มาปลงที่เมรุทองทั้ง 2 คน" ในสมัยรัชการที่ 3 เมื่อสุนทรภู่สึกออกมากรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ ทรงพระเมตตาอุปการะสุนทรภู่ด้วย กล่าวกันว่า ชอบพระราชหฤทัยในเรื่องพระอภัยมณี จึงมีรับสั่งให้สุนทรภู่แต่งต่อ นอกจากนี้สุนทรภู่ยังแต่งเรื่องสิงหไตรภพถวายกรมหมื่นอัปสรฯ อีกเรื่องหนึ่ง แม้สุนทรภู่จะอายุมากแล้ว แต่ท่านก็ยังรักการเดินทางและรักกลอนเป็นที่สุด ท่านได้แต่งนิราศไว้อีก ๒ เรื่องคือนิราศพระประธม และนิราศเมืองเพชร สุนทรภู่ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น "พระสุนทรโวหาร" ขณะที่ท่านมีอายุได้ ๖๕ ปีแล้ว ท่านถึงแก่อนิจกรรมเมื่อปี พ.ศ.๒๓๙๘ รวมอายุได้ ๖๙ ปี
          ไปๆมาๆ ชีวิตของสุนทรภู่วนเวียนอยู่ในวังกับวัด จนเกิดเป็นมหานิราศและบทประพันธ์ ได้แก่ 1.นิราศเมืองแกลง 2.นิราศพระบาท 3.นิราศภูเขาทอง 4.นิราศเมืองเพรช 5.นิราศสุพรรณ 6.นิราศพระประธม 7.พระอภัยมณี และอื่นๆอีกมากมาย ตั้งแต่เกิดวังหลัง โตวังหลวง บวชวัดหลวง และตายวังหน้า ก็ไม่มีใครรู้เลยว่าสุนทรภู่เป็นคนระยอง เพียงแต่แต่งนิราศเมืองแกลงไว้ตอนไปเยี่ยมพ่อที่นั่น สุนทรภู่เป็นกวีเอกของโลกไปแล้ว แต่คนไทยยังสับสนถึงตัวตน ความเป็นมา และความเป็นไปของกวีเอกผู้นี้อย่างไม่เข้าท่าไม่เข้าเรื่องหลักฐานก็มี ของจริงก็ยังพอปรากฏขนาดนี้ ตาสว่างเสียทีคนไทย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น